หอยขม หรือภาษาในบางท้องถิ่นเรีอกว่า หอยจุ๊บ หรือหอยดูด เป็นที่รู้จักกันดีและมีขายในตลาดทั่วไป เป็นหอยฝาเดียวที่พบเฉพาะในแหล่งน้ำจืดเท่านั้น
นิยมนำมาทำอาหาร เช่น แกงคั่วหอยขม แกงอ่อมหอยขม และอื่น ๆ อีกมากมาย หอยขมเป็นสัตว์ที่มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว และขยายพันธุ์เร็ว
ปัจจุบันมีเกษตกรที่เพาะเลี้ยงหอยขมในเชิงพาณิชย์อยู่จำนวนมาก หลายคนอาจนึกภาพไม่ออกว่า หอยขมตัวเล็กๆแบบนี้จะสร้างรายได้ที่ดีให้กับเกษตรกรได้อย่างไรลองมาดูวิธีเลี้ยงหอยขมกันค่ะ
การเลี้ยงหอยขม
การเลี้ยงในกระชัง โดยใช้กระชังในล่อนชนิดต า ถี่ ทำเป็นรูปกระชัง ขนาด 6 เมตร สูง 12O เมตร นำกระชังไปผูกในแหล่งน้ำ ด้วยการให้มุมล่างและมุมบนของ ก ร ะ ชั ง ทั้งสี่ด้าน ยึ ด ติ ด กับเสา 4 ต้น หรือเพิ่มตรงกลางความยาวของกระชัง อีกด้านละต้น รวมเป็น 6 ต้น
ขอบบนของ ก ร ะ ชั ง อยู่เหนือระดับน้ำ 2O-3O ซม. อย่าให้ก้นกระชังติดพื้นดิน เพราะจะทำให้กันกระชังจมโคลน เมื่อผูกกระชังเรียบร้อยแล้ว ใส่ทางมะพร้าวสดขนาดยาว 1 เมตร ลงไป 1-3 ทาง พยายามอย่าให้ทางมะพร้าวทับกัน และ ค ว ร ผู ก ไว้เพื่อไม่ให้ทางมะพร้าวทับกันกระชัง
จากนั้นจึงใส่หอยขมขนาดใหญ่ หรือขนาดโตพอกิน ลงไป 2 กิโลกรัม/กระชัง โดยคัดเลือกหอยขมที่ยังสด ซึ่ง สั ง เ ก ต ได้จากการนำหอยขมไปแช่น้ำไว้ ถ้าหอยขมคว่ำตัว ติดกับภาชนะแสดงว่ายังมีชีวิตอยู่
หลังจากใส่หอยขมแล้ว วันที่สองยกทางมะพร้าวขึ้นดูจะพบว่ามีหอย ขมตัวเล็กๆ เกาะติดอยู่ตามทางมะพร้าว ทางมะพร้าวที่แช่น้ำนานๆ จะเน่าเปื่อยผุพัง จึง ค ว ร เ ป ลี่ ย น ทางมะพร้าวใหม่เดือนละ 2 ครั้ง
หอยขมที่เลี้ยงในกระชังจะเกาะกินตะไคร่น้ำ และอยู่ตามทางมะพร้าว ตลอดจน บ ริ เ ว ณ ด้านข้าง และก้นกระชัง โดยมิต้องให้อาหารเสริมแต่อย่างใด หลังจาก 2 เดือน จึงทยอย คั ด เ ลื อ ก เก็บหอยขมตัวใหญ่ขึ้นมากิน หรือจำหน่าย เพื่อไม่ให้หอยขมอยู่กันหนาแน่นเกินไป จะทำให้หอยขมเจริญเติบโตช้า
การเก็บเกี่ยวผลผลิตหอยขม
การเก็บเกี่ยวผลผลิตหอยขม สามารถกระทำได้ง่ายมาก โดยการยกทางมะพร้าวขึ้นมา หรือยกขอบกระชังขึ้นมา ก็จะพบหอยขมเ กาะ อยู่ตามทางมะพร้าว หรือบริเวณด้านข้ ฟางของกระชัง ซึ่งทำให้สามารถคัดเลือกเก็บหอยขมได้ตามขนาด และจำนวนที่ต้องการ
ถือเป็นอีกหนึ่ง วิ ถี เ ก ษ ต ร เงินแสนสำหรับคนที่ม องหาช่องทางลงทุนแบบง่ายๆ แต่ใครก็ตามที่คิดว่าจะเอาดีทางด้านการเลี้ยงหอยขมและไม่ต้องการขมขื่นแนะนำว่าให้ศึกษาวิธีการเลี้ยงให้เข้าใจ
และลองทำจนชำนาญเริ่มจาก ป ริ ม า ณ บ่อน้อยๆ และค่อยๆขยายให้มากขึ้น จะได้ เ รี ย น รู้ ปัญหาและวิธีการแก้ไขที่ถูกต้องไปพร้อมกันด้วย