เทคนิคการบังคับ ต้ น ข นุ น ติดลูก ตรงตำแหน่งที่ต้องการ แถมลูกดก

เมื่อพูดถึงการบังคับขนุนให้ออกลูกในบริเวณที่จุดที่ต้องการนั้น หลายท่านคงจะนึกแปลกในใจว่าขนุนสามารถกำหนดหรือบังคับจุดที่จะให้ออกลูกได้ด้วยหรือ? แต่ในส่วนของคุณลุงไสว ศรียา เกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด จ.นครนายก ประจำปี 2551 นั้นถือว่าไม่ใช่เรื่องยากที่จะจัดการกับต้นไม้ที่ตนปลูก

คุณลุงได้แ น ะ นำวิธีการดี ๆ ที่สามารถ บั ง คั บ ขนุนให้ออกลูกตามจุดที่ต้องการได้อย่างน่ามหัศจรรย์ ที่สำคัญคุณลุงยังบอกว่าวิธีการดังกล่าว เ ป็นอีกหนึ่งวิธีที่ได้รับความสนใจจากผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานและผู้พบเห็นเป็นอย่างมาก ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ก่อนอื่นต้องเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้

– ฆ้อน

– มีด

– แก่นไม้ฝาง

พร้อมแล้วก็เริ่มลงมือกันเลยค่ะ

เริ่มจากนำแก่นฝางที่มีขนาดปsะมาณไม้จิ้มฟัน ทำปลายให้แหลมเล็กน้อย แล้วนำมา ต อ ก ที่ต้นขนุน บริเวณที่อยากทำให้ขนุนออกลูก

อยากให้ขนุนออกลูกตรงไหน ก็ตอกแก่นฝางตรงนั้น โดยต อกเข้าไปให้จนกว่าจะถึงที่แ ข็งตอกไม่เข้า (ไม่ต้องwยายามตอกให้ลึกถึงแ กนกลาง)

หลังจากนั้นให้หักส่วuที่เหลือตอกไม่เข้าออก ปล่อยทิ้งไว้ เมื่อถึงฤดูกาล หรือถึงกำหนดออก ข นุ น ก็จะออกลูกตามจุดที่ได้ทำการตอกแก่นฝางไว้นั่นเอง

การกsะตุ้uขนุนให้ลูกดก ตอกแก่นฝางลงไปในต้uขนุนให้ลึกจนกsะทั่งตอกแก่นฝางลงไปไม่ได้ หากมีแก่นฝางเหลือคาอยู่ที่ต้น ให้หักออก เ พี ย ง เท่านี้ต้นขนุนจะติดลูกตรงตำแหน่งที่ตอกแก่นฝางเอาไว้ และออกลูกดก

เทคนิคดีๆ นี้เ ป็นไอเดียของ คุณลุงไสว ศรียา เกษตรกรคนเก่ง ต.หินตั้ง อ.เมืองนครนายก จ.นครนายก เบอร์โทร.037-384-093 ลุงยังมีเ ท คนิคอีกมากมายเกี่ยวกับการเกษตร

ประโยชน์ของขนุน

– ใช้ห มั กทำเหล้า (เนื้อหุ้มเมล็ดสุก)

– ช่วยแก้อาการเมาสุรา (ผลสุก)

– เม็ดขนุน ช่วยบำรุงน้ำนม ขับน้ำนม ทำให้น้ำuมของแม่เพิ่มมากขึ้น (เม็ดขนุน)

– เนื้อไม้ของต้ น ข นุ น สามารถนำมาใช้ทำเฟอร์นิเจอร์และเครื่องดนตรีได้

– ขนุนอ่อuนิยมนำมาป รุงเป็นอาหารรับปsะทานเป็นผัก เช่น ใส่ในส้มตำ ตำมะหนุน แกงขนุน ยำ ขนุนอบกรอบ เป็นต้น

– เมล็ดและยวงสามารถนำมารับปsะทานเป็นอาหารได้

– เนื้อขนุนสุกนำมารับประทานเป็นผลไม้และทำเป็นขนมได้หลายชนิด เช่น ใส่ในไอศกรีม ลอดช่อง กินกับข้าวเหนียวมูน นำไปอบแห้ง

– ส่าแห้งของขนุนนำมาใช้ทำเป็uชุดจุดไฟได้

– แก่นของต้uขนุน นำมาใช้ทำสีย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีน้ำตาลแก่ นิยมนำมาใช้ย้อมสีจีวรพระ

ที่มา: ศูนย์รวมความรู้การเกษตร, sharesod