สิ่งที่จะต้องรู้ เมื่อจะว า ง ร ะ บ บ น้ำ สำหรับการเกษตร

ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะขึ้นชื่อว่าเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ และตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมต่อการปลูกพืชหลากหลายชนิด แต่เราไม่อาจลงทุนทำการเกษตรแบบหมดหน้าตัก โดยหวังพึ่งพาแค่น้ำฝนจากธรรมชาติเพียงอย่างเดียว

ด้วยเหตุนี้การจัดการระบบน้ำการเกษตรอย่างเป็นระบบ จึงเป็นตัวช่วยที่จะทำให้ทุกคนสามารถทำการเกษตรได้อย่างยั่งยืนในทุกพื้นที่ และทำให้เรือกสวนไร่นาของเรา สามารถมอบผลผลิตได้ตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ตลอดปี เพื่อช่วยให้ทุกคนสามารถจัดการน้ำได้อย่างมีคุณภาพ

โดยเฉพาะพืชที่ชอบน้ำมาก ๆ หากน้ำไม่พอจะส่งผลให้ผลผลิตออกมาไม่ดีหรือสร้างความเสียหายใหญ่ได้เลย ยิ่งพื้นที่เยอะหลายไร่ ยิ่งจะต้องวางระบบน้ำให้เหมาะสม เพื่อให้ส่งน้ำได้ไกลทั่วถึงทุกต้น

การวางระบบน้ำในการทำเกษตรกรรม

ก่อนจะวางระบบน้ำนั้นต้องดูก่อนว่า ณ พื้นที่นั้น ๆ คุณทำเ ก ษ ต ร แบบไหน ปลูกต้นอะไรบ้าง พืชแต่ละชนิดชอบน้ำมากน้อยต่างกัน รวมถึงจะต้องดูระยะในการลำเ ลียงน้ำด้วยว่าไกล้ไกลแค่ไหน

หากใช้สปริงเกอร์ก็ต้องดูว่าใช้แบบไหน จ่ายน้ำได้เท่าไหร่แล้วก็จัดการคำนวณออกมาเลยว่าจะใช้ท่อย่อยท่อเมนจำนวนเท่าไหร่ ปั๊มน้ำขาดไม่ได้เลย เลือกแบบที่มีคุณภาพสูงในงบที่จ่ายไหว เป็นปั๊ ม ที่ส่งน้ำได้ดี มีรับประกันและอายุการใช้งานยาวนานจะดีมาก

สิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการวางระบบน้ำ

หลัก ๆ เลย สิ่งที่เราจะต้องดูเป็นปัจจัยก่อนที่จะวางระบบน้ำคือ การรู้จักพืชที่จะปลูก รู้ระยะพื้นที่ปลูก ทำความเข้าใจเ กี่ ย ว กับการใช้ท่อต่อ ท่อเมนอื่น ๆ รวมถึงการใช้งานระบบปั๊มน้ำด้วย พอรู้จักทั้งหมดแล้วจะทำให้การวาง ร ะ บ บ น้ำในพื้นที่เกษตรนั้นเป็นง่าย ๆ เลย

หากพืชที่ปลูกนั้นเป็น ช นิ ด ผั ก จะค่อนข้างเหมาะกับระบบน้ำหยด เพราะว่าค่อนข้างจะบอบช้ำได้ง่าย หากใช้ระบบน้ำอื่น ๆ อาจจะทำให้กระทบใบก็ได้ หรือจะเป็นสปริงเกอร์ก็ยังพอได้เหมือนกัน

แต่ถ้าเป็นพวกพืชที่แข็งแรงไม่ช้ำง่ายจะใช้ระบบไหนก็ได้ เวลาป ลู ก ก็ให้กะระยะให้พอดี ใกล้กันเ กินไปจะทำให้แย่งสา รอาหารกันแล้วจะมีพืชบางต้นที่โตไม่เต็มที่แม้จะให้น้ำเท่ากันก็ได้ เพราะร า ก พื ช นั้นก็ออกไปหาอาหารไกลจากโคนพอสมควร

หากพืชที่ปลูกเป็นไม้โต ไม้ยื น ต้ น อาจจะต้องคำนึงถึงอนาคตตอนที่พืชโตแล้วด้วยเหมือนกัน เ พ ร า ะ ว่ารากนั้นจะเริ่มเดิมออกไปหากินไกลกว่าเ ดิมแล้ว จะต้องวางระบบน้ำให้กระจายทั่วถึง เป็นแบบสปริงเกอร์จะเหมาะมากกว่า เ ลื อ ก หัวที่กระจายน้ำได้ดี โดยตัวอย่างหัวสปริงเกอร์ที่นิยมกันก็มีดังนี้

1 สปริงเกอร์แบบน้ำหยด การจ่ายน้ำประมาณ 1 – 20 ลิตร/ชั่วโมง เหมาะจะใช้กับพืชระยะสั้น เช่น ผัก

2 เป็นมินิสปริงเกอร์ การจ่ายน้ำ 20 – 280 ลิตร/ชั่ วโมงโดยประมาณ แรงดัน 1 – 3 บาร์ เหมาะจะใช้ในรัศมีก ร ะ จ า ย ประมาณ 1.5 – 4 เมตร

3 มินิสปริงเกอร์แบบใบพัด ก็คือมีใบพัดเ พิ่มมาด้วยนั่นเอง จะจ่ายน้ำที่ 200 – 400 ลิตร/ชั่วโมง หมุนจ่ายน้ำได้ มีขาผัก เหมาะจะใช้ในรัศมี 1.5 – 4 เมตร

4 สปริงเกอร์ใบ PVC (หูช้าง) จะจ่ายน้ำที่ 360 ลิตร/ชั่วโมง โดยประมาณ แรงดันนั้นจะอยู่ที่ 1.5 บาร์ เหมาะสำหรับรัศมีการกระจายที่ 3.5 เมตร ไม้ยืนต้น สวนผลไม้ต่าง ๆ เหมาะจะใช้แบบนี้

หลังจากที่เลือกได้แล้วว่า ส ป ริ ง เ ก อ ร์ แบบไหนที่เข้ากับการปลูกพืช ต่อไปเราก็ต้องใส่ใจในระยะการปลูกด้วย ให้เหมาะกับพื้นที่สวนที่มี ซึ่งการมีระยะการปลูกนี่เองจะช่วยให้เรารู้ได้ง่าย ๆ ว่า ท่อย่อยที่ใช้นั้นต้องย าวแค่ไหน

ความดันจะใช้เท่าไหร่ ขนาดท่อเท่าไหร่ จะช่วยในการคำนวณให้ง่ายขึ้น พอเ ป็นแบบนี้ก็ทำให้น้ำกระจายได้อย่างทั่วถึง พื ช ทุกต้น แล้วเรายังเลือกท่อเ มนกับปั๊มน้ำที่มีแรงดันพอเหมาะมาใช้งานได้อีกด้วย

การเลือกปั๊มน้ำ

จะส่งน้ำไปได้อย่ างไรถ้าขาดปั๊มน้ำจริงไหม ฉะนั้นอย่ าลืมการเลือกปั๊มน้ำให้ดีด้วย โดยจะทำให้หน้าลำเลียงน้ำจากท่อเ มนไปยังท่อย่อยต่าง ๆ เพื่อให้กระจายไปรดต้นไม้อ ย่ างทั่วถึง จะต้องได้ปั๊มที่ใช้กับท่อเมนหลักได้ด้วย

เช่น เ ว ล า เลือกนั้นหากท่อเมน 1 นิ้ว ปั๊มก็ต้องเป็น 1 แรงม้า ท่อเมน 2 นิ้ว ปั๊ม 2 แรงม้า ประมาณนี้ เ พราะว่าปั๊มน้ำจะทำหน้าที่ควบคุมแรงดันน้ำ ระยะส่งของน้ำ ถ้าปั๊ม แ ร ง ดั น เยอะแต่ท่อเมนรับไม่ไหวมันก็แตกนะ เลยต้องเลือกให้เข้าคู่กันด้วย

ในการออกแบบและว า งระบบน้ำที่ใช้ในการเกษตรนั้นจะต้องเหมาะสมกับต้นพืช เหมาะกับ ข น า ด พื้นที่ แล้วยังต้องเลือกปั๊มให้เข้ากับท่อเมนด้วย มิเช่นนั้นปัญหาที่ทำให้ปว ดหัวคงตามมา ฉะนั้นจะวางระบบน้ำทั้งทีก็ต้องเอาให้ดี ทำให้ออกมาใช้งา นได้คุ้มค่ากับที่ลงทุนไป