วิธีขอไฟฟ้า ล ง พื้ น ที่ เพื่อใช้ในการเกษตร เทคนิคขอได้ง่ายขึ้น

ชาวเกษตรกรที่มีไร่ ทำสวน ทำไร่ ทำนา ที่ต้องดูแล ก็มีความจำเป็นที่จะใช้ไฟฟ้าในพื้นที่นั้นๆ ในสวนของตัวเอง แต่การใช้ไฟสำหรับการทำเกษตรนั้น ไม่เหมือนกับการขอใช้ไฟตามบ้านเรือนเพื่อที่อยู่อาศัย มันมีความแตกต่างกันอยู่ วันนี้เราจะพามาดูขั้นตอนในการขอไฟเกษตร เพื่อนำมาใช้ในไร่นา หรือสวนของเรา ว่าต้องทำอย่างไรบ้างถึงจะมีไฟใช้ในสวนได้

ไฟเกษตร คืออะไร?

หลายคนอาจจะสงสัย หรือไม่เคยได้ยินมาก่อนว่าจะมีคำว่า “ไฟเกษตร” สำหรับคำนี้ มีความหมายคือ เป็นการนำไฟฟ้าไปใช้ในสวนของ เ ก ษ ต ร ก ร สำหรับการทำเกษตร

ผู้ที่ต้องการขอใช้ไฟฟ้าสำหรับทำการเกษตร จะต้องมีคุณสมบัติครบ ตรงตามกำหนดของการไฟฟ้า ซึ่งจะมี ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ เพื่อเข้าโครงการทั้งหมด 9 ข้อ ดังนี้

1 มีหนังสือรับรองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจะเป็นหน่วยราชการ เพื่อไว้สำหรับ ยื น ยั นว่า ที่บริเวณนี้ที่เราใช้ทำการเกษตร ไม่อยู่ในพื้ น ที่หวงห้ามของทางราชการ

2 ต้องทำการระบุแหล่งน้ำที่จะใช้เพื่อการผ ลิ ต ทางการเกษตรได้อย่างชัดเจน ในพื้นที่ที่ขอใช้ไฟฟ้า เช่น คลองชลประทาน หรือแหล่งน้ำใต้ดิน

3 ต้องทำเรื่องของหนังสือรับรองจากองค์กรปกครองท้องถิ่น หรือหน่วยงานราชการ ในการ ยื น ยั น ขนาดของพื้นที่และชนิดของกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรที่เราต้องการจะขอใช้ไฟฟ้า

4 จะต้องเป็นพื้ น ที่ ที่สามารถดำเนินการก่อสร้างระบบจำหน่ายโดยวิธีปักเสาพาดสายเข้าไปในจุดที่ขอใช้ไฟฟ้ าได้

5 พื้นที่ทำการ เ ก ษ ต ร ที่เราจะขอใช้ไฟเกษตร จะต้องมีเ ส้นทางสาธารณะ ที่รถยนต์สามารถวิ่งผ่านได้สะดวก การจราจรเข้า-ออก ไม่ลำบาก

6 ค่าใช้จ่าย ในการขยายเขตต่อราย เฉลี่ยไม่เกิน 50,000 บาท (โดย PEA. จะเป็นผู้ รั บ ผิ ด ชอบค่าใช้จ่ายการขยายเขต)

7 สามารถออกใบแจ้งหนี้ ค่ า ก ร ะ แ ส ไฟฟ้ามิเตอร์เครื่องที่ 2 (ใหม่) โดยจะแจ้งเก็บเงิน ไปที่มิเตอร์เครื่องที่ 1 (เก่า) โดยทั้งสองมิเตอร์ จะต้องอยู่ในพื้นที่การไฟฟ้าเ ดียวกัน

8 เป็นเกษตรกรรายย่อย ที่ขอติดตั้งมิเตอร์ ขนาดไม่เกิน 15 (45) แอมป์ ต่อ 1 ราย

9 ต้องมีเอกสาร/หลักฐานสิทธิ์ ตามป ร ะ ม ว ลกฎหมาย ของพื้นที่ทำการเกษตร แต่ต้องไม่ใช่ที่ดิน ที่ถือครองโดยเอกชนรายใหญ่

เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติ ค ร บ ถ้ ว น แล้ว ต่อไปคือขั้นตอนในการขอไฟฟ้าจากการไฟฟ้า เพื่อนำมาใช้ในสวน ทำการเ กษตรของเรา เป็นขั้นต อนโดยละเอียดดังนี้

– ให้เราถ่ายรูปที่พักอาศัยและห้องน้ำ รวมถึงสวนที่อยู่ติดบ้าน เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการให้กรมอนามัยลงพื้นที่ ต ร ว จ ส อ บ และทำเอกสารรับรองการเป็นอยู่ของที่อยู่เรา ว่ามีการเป็อยู่ที่ถูกสุขลักษณะ

– จากนั้นให้นำหนังสือไปยื่นเ รื่องที่หน่ วยงานรับผิดชอบ ในการขอบ้านเลขที่

– เมื่อได้บ้านเลขที่เรียบร้อยแล้ว ก็ให้ไปยื่นที่อำเภอต่อ เพื่อลงทะเบียนขอสำเ นาทะเบียนบ้าน

– จากนั้นนำเรื่องไปยื่นกับองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่นในพื้นที่นั้นๆเช่น อบต. หรือ เ ท ศ บ า ล ตามพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อทำการรับรอง

– นำเอกสารไปยื่นไว้ที่การไฟฟ้าในอำเภอ เป็นการยื่นเรื่องไว้รอ เราต้องคอยติดตามถามเป็นระยะ ถึงความเป็นไปได้ที่จะได้ใช้ไฟฟ้าเข้าสวน หากมีเพื่อนอยู่ติดกัน 3 หลังขึ้นไป จะสามารถขอไฟได้ง่ายขึ้น ดังนั้นควรยื่นเอกสารรวมกัน แล้วนำไปยื่นพร้อมกันทั้ง 3 หลัง

คำแนะนำ : ในกรณีที่บ้านอยู่ไกลสวน จะต้องสร้างที่พัก เพิงพักที่ดูมั่นคง รวมถึงมีห้องน้ำด้วย เ พื่อให้เห็นว่าเรามา อ า ศั ย อยู่ถาวรในพื้นที่นี้จริงๆ ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้อยู่ก็ตาม

เอกสารที่ต้องเตรียม ในการขอไฟเกษตร

– หนังสือรับรองจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น หรือจะเป็นหน่วยราชการ

– สำเนาทะเ บียนบ้าน

– สำเนาโฉนดที่ดิน

– สำเนาบัตรประชาชน

ค่าธรรมเนียมในการยื่นขอมิเตอร์ไฟฟ้า

– 5(15) แอมป์ 1,000 บาท

– 15(45) แอมป์ 6,450 บาท

– 15(45) แอมป์ 3 เฟส 21,350 บาท

หวังว่าบทความนี้ คงจะเป็นประโยชน์สำหรับ เ ก ษ ต ร ก ร ที่ต้องการนำไฟฟ้ามาใช้ในสวน ไม่มากก็น้อย ให้เข้าใจรายละเอียดและวิธีการต่างๆ รวมถึงทริคเ ล็กๆน้อยๆที่จะช่วยให้คุณสามารถขอไฟฟ้าใช้จากการไฟฟ้าได้ง่ายขึ้น

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค